นายก อบต.หวยไผ

นายทรัพย์ทวี ซึ่งพรม

นายกองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยไผ่

 

สายดวนนายก2565

palud1

นายวิสันต์  ปะนันทา

ปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยไผ่

facebooktabs

รับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์

รบเรองรองเรยนรองทกข-2

ช่องทางแสดงความคิดเห็น

ชองทางแสดงความคดเหน

ศูนย์ยุติธรรม อบต.ห้วยไผ่

แจ้งเบาะแสป้ายโฆษณา

ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร

เวลาขณะนี้

เมนูหลัก

งานสาธารณสุข

E - Service

System electronic

Announcement Electronic-1

Electronic-Civil-Service-Act

dga-1

tangrut

manu-1

แบบฟอร์ม ออนไลน์ ต่างๆ

google-2

เพจ-อบต.หวยไผ-2

lineคนฮกตำบลหวยไผ-3

smar-Q-2

ชองทางรบเรองรองเรยนฯ-2

แบบประเมนความพงพอใจฯ-2

QA-2

เว็ปไซต์ที่น่าสนใจ...

mahadthai

pr.moi.

webkrom

sataranasook

snook

youtube

thairut

dalynew

tv-online

lotto

oho

utitam

touris2

skr.

spptr

easy-life1

nacc-1

ETV-1

ปฏิทิน

กันยายน 2023
12
3456789
10111213141516
17181920212223
24252627282930

ศูนย์ปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน

1669

สภาพอากาศวันนี้

กรมอตนยมวทยา

จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชม

1696641
วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
สัปดาห์ที่แล้ว
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
รวม
112
1356
6546
1685172
13993
21578
1696641

Your IP: 44.192.115.114
Server Time: 2023-09-22 02:02:35

เว็บไซต์ใหม่ อบต.ห้วยไผ่ (huaypaisaoubon.go.th)

new-site-1

ชุมชนเผ่าบรู บ้านท่าล้ง

 บานทาลง-1

บานทาลง-2


 เส้นทางไปชุมชนเผ่าบรู บ้านท่าล้ง ตำบลห้วยไผ่ อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี

ประวัติความเป็นมา ชุมชนบ้านท่าล้ง

    เป็นชุมชนริมโขงที่มีความสงบร่มรื่น ภายในหมู่บ้านมีบรรยากาศที่สวยงาม ชาวบ้านท่าล้งแต่เดิมเป็นชาวพื้นเมืองที่พำนักอยู่ในสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว โดยมีชื่อเรียกแบบดั้งเดิมว่า "ชาวบรู" มีภาษาพูดเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง ต่อมาได้อพยพย้ายถิ่นฐานลงมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ตำบลห้วยไผ่ในเขตหมู่บ้าน ท่าล้ง ปัจจุบันการดำเนินชีวิตเป็นไปด้วยความเรียบง่าย มีความสมัครสมานสามัคคี ยึดมั่นในประเพณีแบบดั้งเดิม

      บ้านท่าล้ง ตำบลห้วยไผ่ อำเภอโขงเจียม ตั้งอยู่ห่างจากผาแต้มประมาณ 10 กิโลเมตร สภาพทั่วไปของชุมชนเป็นพื้นที่ลาดชันกับเนินเขาสูงและส่วนใหญ่เป็นหิน พื้นที่ทั้งหมดของชุมชนอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติผาแต้ม ซึ่งมีพื้นที่ทั้งหมด 8,750 ไร่ แบ่งเป็นพื้นที่อยู่อาศัย 45 ไร่ พื้นที่ทำการเกษตร 240 ไร่ พื้นที่สาธารณะ 30 ไร่ ส่วนที่เหลือเป็นพื้นที่อนุรักษ์ จำนวน 8,435 ไร่ ชาวบ้านท่าล้งใช้ "ภาษาบรู" เป็นภาษาพูดภายในชุมชนแต่ไม่มีภาษาเขียน ชาวบ้านส่วนใหญ่ สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารกับคนภายนอกได้

 

broo 

 

12803007 537177013118741 2886328947548240025 n


กิจกรรมและการบริการด้านการท่องเที่ยวของชุมชน

ทรัพยากรการท่องเที่ยวภายในชุมชน

-ทรัพยากรธรรมชาติ


13620699 595271970642578 5795142449184982820 n


13615447 595271987309243 769786523122000759 n


- ชุมชนมีทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวในรูปแบบวิถีชีวิตชุมชนแบบดั่งเดิม 

  รอยพระพุทธบาทบ้านท่าล้ง158109 

- ขนบธรรมเนียมประเพณีทางวัฒนธรรมที่น่าสนใจ 

Blue01


- ผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน เครื่องจักสาน

3   sarn01   

 12447600 1031681416900148 1153588131 n     12532605 936476953140203 1738321183 n 

5     6

 

กิจกรรมการท่องเที่ยวภายในชุมชน 

- กิจกรรมศึกษาวิถีชิวิตชุมชนที่ยังคงรูปแบบดั่งเดิม ทอลองทำ – เครื่องจักสานจากใบเตยป่า 

view 0-kongjaem-02

- ล่องเรือแม่น้ำโขง ชมบรรยากาศ วิว ทิวทัศน์ที่สวยงามริมสองฝั่ง 

 lumnam

231458

13939595 603979889771786 3303778813731342003 n

35

82167

สมชทาลง-ตามย-กม ๑๗๑๐๑๗ 0027-1024x576

-ทดลองทำอาหารพื้นบ้าน และชิมอาหารดั้งเดิมของชุมชนท่าล้ง เค็มบักนัด (นำเนื้อปลาสวายหรือปลาเทโพหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ หมักกับสับปะรดและเกลือทิ้งไว้ประมาณ 2 เดือน), แหนมเนือง, จ๋าวบั๋นกั๋น (ก๋วยจั๊บญวน), บั่นบกหล่อก (คล้ายกุ่ยช่าย), ไก่ต้มใบมะขาม, ลาบเป็ด, ไส้กรอกอีสาน กับข้าวหลักของชาวท่าล้ง คือ เนื้อปลาสดๆ ที่จับได้จากแม่น้ำโขง แล้วนำมาปรุงอาหารเป็นเมนูสารพัด เช่น ต้มส้ม ปลาทอด ลาบปลา

 

ปฏิทินและโปรแกรมการท่องเที่ยว 

- นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางมาท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปี 

- โปรแกรมการท่องเที่ยวใน 1 วัน นักท่องเที่ยวสามารถเที่ยวชมในรูปแบบหมู่คณะ โดยมีวิทยากรให้ความรู้

 

การบริการด้านการท่องเที่ยวของชุมชน

- มีบริการบ้านพักในรูปแบบโฮมสเตย์ เยี่ยมชมบรรยากาศความเป็นอยู่ของชาวบ้านใน หมู่บ้านเล็กๆ ที่เต็มไปด้วยกลิ่นอายของวัฒนธรรมท้องถิ่นซึ่งชาวบ้านร่วมกันอนุรักษ์และทำ ให้คงอยู่ไว้ เรียกว่าเป็นการท่องเที่ยวตามแบบวิถีชีวิตท้องถิ่นของชาวไทยบรู

 

เอกลักษณ์ของชุมชน 

    ชาวไทบรู ที่ท่าล้งนี้ยังคงดำรงชีวิตแบบดั้งเดิม มีการพึ่งพาธรรมชาติอยู่มาก มีการทำนา ทำไร่มันสำปะหลัง หาปลา เก็บของป่า มีอาชีพเสริมคือ การสานกระติบข้าว โดยมีลักษณะเฉพาะ คือใช้ส่วนของผิวไผ่ในการสาน ทำให้ได้กระติบข้าวที่แข็งแรง ทนทานและสวยงามจากผิวไผ่

 

ประเพณีท้องถื่น 

    บ้านท่าล้งมีภาษาท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์คือ ภาษาบรู นอกจากภาษาพูดแล้วยังมีเพลงที่เป็นเนื้อร้องภาษาบรูมีการฟ้อนรำที่เป็น เอกลักษณ์ และมีประเพณีวันพิธีสืบชะตาแม่น้ำโขง ประเพณีตามคติความเชื่อของคนโบราณภาคอีสานในการทำบุญต่ออายุแม่น้ำโขงสายน้ำ แห่งชีวิตและวัฒนธรรมของชนเผ่า ถือเป็นพิธีกรรมที่ศักดิ์สิทธิ์ ทำขึ้นเพื่อเป็นสิริมงคลของท้องถิ่นชาวไทยลาวที่อาศัยอยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในวันงานพิธีสืบชะตาชาวบ้านท่าล้งจะเป็นตัวแทนอำเภอโขงเจียมในการแสดง วัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำโขง โดยมีปราชญ์ที่ร้องเพลงภาษาบรูและเล่นเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ


เบอโทรศัพท์

   -0986685713 นายธีรเกียรติ แก้วใส ผู้ใหญ่บ้านท่าล้ง ต.ห้วยไผ่ อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี

   -0806306983 นายสุทธิวัตน์ ศิริมาตร์ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยไผ่